เครื่องดื่มบำรุงสมอง เครื่องดื่มบำรุงร่างกาย เครื่องดื่มโปรตีนเสริมภูมิต้านทาน สำหรับวีแกน ร้าน Pleasantor Thailand กรดไขมันโอเมก้าจากถั่วดาวอินคาดีต่อสมองอย่างไร - keenarry

กรดไขมันโอเมก้าจากถั่วดาวอินคาดีต่อสมองอย่างไร

Last updated: 17 เม.ย 2564  |  2213 จำนวนผู้เข้าชม  | 

กรดไขมันโอเมก้าจากถั่วดาวอินคาดีต่อสมองอย่างไร

โอเมก้า (Omega)

ไขมันจัดเป็นสารชีวโมเลกุลหลักของสมอง โดยไขมันมีสัดส่วนมากกว่า 50% ของสารชีวโมเลกุลทั้งหมด ไขมันบางส่วนเป็นองค์ประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ โดยเฉพาะกรดไขมันแบบไม่อิ่มตัว ซึ่งมีประโยชน์ต่อสมอง เช่น โอเมก้า-3 และโอเมก้า-6 จัดว่าเป็นกรดไขมันที่พบในเยื่อหุ้มเซลล์ของสมอง และเราสามารถรับโอเมก้า-3 และโอเมก้า-6 ได้จากการรับประทานอาหาร [1] โอเมก้า-3 ยังมีฤทธิ์ต้านการอักเสบและป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้าได้อีกด้วย [2] [3] ยังมีรายงานอีกว่าโอเมก้า-3 สามารถลดอาการกังวลได้ [4] งานวิจัยทางคลินิกเกี่ยวกับสารสื่อประสาทโดพามีนกับโอเมก้า-3 ได้รายงานว่า เมื่อระดับโอเมก้า-3 ต่ำลง จะส่งผลลดการทำงานของสารสื่อประสาทโดพามีนได้ด้วย[5] เป็นไปได้ว่าโอเมก้า-3 อาจจะไปเพิ่มระดับสารสื่อประสาทประเภทโดพามีนและโซโรโทนิน  [6] ซึ่งเซโรโทนินคือสารแห่งความสุข

 

[1] Mocking, R. J. T., Assies, J., Ruhé, H. G., &Schene, A. H. (2018). Focus on fatty acids in the neurometabolic pathophysiology of psychiatric disorders. Journal of Inherited Metabolic Disease, 41(4), 597-611. https://doi.org/10.1007/s10545-018-0158-3

[2] Vermeulen, E., Stronks, K., Visser, M., Brouwer, I. A., Schene, A. H., Mocking, R. J., Colpo, M., Bandinelli, S., Ferrucci, L., &Nicolaou, M. (2016). The association between dietary patterns derived by reduced rank regression and depressive symptoms over time: the Invecchiare in Chianti (InCHIANTI) study. Br J Nutr, 115(12), 2145-2153. https://doi.org/10.1017/s0007114516001318

[3] Grosso, G., Galvano, F., Marventano, S., Malaguarnera, M., Bucolo, C., Drago, F., &Caraci, F. (2014). Omega-3 Fatty Acids and Depression: Scientific Evidence and Biological Mechanisms. Oxidative Medicine and Cellular Longevity, 2014, 313570. https://doi.org/10.1155/2014/313570

[4] Natacci, L., D, M. M., A, C. G., Nunes, M. A., A, B. M., L, O. C., Giatti, L., MDC, B. M., I, S. S., Brunoni, A. R., P, A. L., & I, M. B. (2018). Omega 3 Consumption and Anxiety Disorders: A Cross-Sectional Analysis of the Brazilian Longitudinal Study of Adult Health (ELSA-Brasil). Nutrients, 10(6). https://doi.org/10.3390/nu10060663

[5] Yao, J., Stanley, J. A., Reddy, R. D., Keshavan, M. S., &Pettegrew, J. W. (2002). Correlations between peripheral polyunsaturated fatty acid content and in vivo membrane phospholipid metabolites. Biol Psychiatry, 52(8), 823-830. https://doi.org/10.1016/s0006-3223(02)01397-5

[6] Ross, B. M., Seguin, J., &Sieswerda, L. E. (2007). Omega-3 fatty acids as treatments for mental illness: which disorder and which fatty acid? Lipids in health and disease, 6, 21-21. https://doi.org/10.1186/1476-511X-6-21

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้